Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1)เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน 2) เพื่อศึกษาการพัฒนารูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน 3) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน เพื่อการนำไปใช้อย่างมีคุณภาพการวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ประชากร จำนวน 357 คน ใน 10 หมู่บ้านประชากรตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราชเครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถามประชาชนเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ แบบประเมินคุณภาพ แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนทีมีต่อรูปแบบการสื่อสารที่สร้างการยอมรับของชุมชน สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test Dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1. ด้านสภาพและปัญหาการพัฒนารูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน ประกอบด้วย 4 ด้านหลัก 1) ด้านสภาพปัจจุบันการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน 2) ด้านการใช้สื่อในการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน 3) ประเมินผลรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน4) ด้านปัญหาในการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน 5) ด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผลการพัฒนารูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชนผลการวิจัยพบว่า 2.1 รูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ดังนี้ 1) การสร้างทีมงานของการสื่อสารองค์กร 2) บุคลิกภาพของผู้สื่อสารองค์กร 3) สื่อสำหรับการสื่อสารองค์กร 3. ผลของประสิทธิภาพการใช้รูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน ผลการวิจัยการศึกษาผลการใช้รูปแบบสรุปได้ดังนี้ 1) ผลวิเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน ภาพรวมความเหมาะสมของรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2) ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชนโดยภาพรวมความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อรูปแบบการสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างการยอมรับของชุมชน อยู่ในระดับมาก
Development of Organizational Communication For Community Acceptance
This research is the research and development. Aims : 1)To study the issues and corporate communications to build community acceptance. 2)To study the development of communication patterns of organizations to build community acceptance. 3) To study the effectiveness of theorganizationalcommunication patterns of organizations to build community acceptance for applying as quality The research is divided into four Periods sample composed of 357 people in 10 villages of the population in Maireang Subdritrict, Chawangdritrict, Nakhon Si Thammarat Province Research tools include expert interviews, Query public about current conditions Problems and Needs Questionnaire on Satisfaction of the public towards a form of communication to build community. Acceptance Statistics used were percentage , mean( ), standard deviation (S.D.) and test for the (t-test Dependent).
The results showed that the
1 The conditions and problems in developing a corporate communications to build Acceptance of the community consists of four main aspects: 1) the current state of corporate communications to build Acceptance of the community, 2) the use of media for corporate communications to build acceptance of the community, 3) evaluate the communication patterns of organizations to build awareness of the community, 4) the problems. corporate communications to build Acceptance of the community, 5) the communication efficiency
2. Effective form of communication for development organization to build community acceptance. The results showed that
2.1 Organizational Communication patterns for community Acceptance consist of three main sections: 1) Create a team of corporate communication 2) the personality of the corporate communication 3) media for corporate communications
3. Effect of efficient communication patterns of organizations to build community acceptance. Can besummarized as follows: 1) Analysis of expert assessment of the format of corporate communications for community acceptance. Overview of the appropriate form oforganizational communicationorganizations for community acceptance. of The quality is in very good lavel.2) Analysis of the peoples satisfaction towards the communication patterns for organizational community acceptance by overall there were at high level.
Keywords
Vol 6 No 1 (2014): ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2557
อ่านรายละเอียด